ระดับปริญญาโท คณะครุศาสตร์ <♦กรอกใบสมัคร> ค่าธรรมเนียมในการสมัคร 500 บาท
– สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา –  เป็นผู้จบการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ทุกสาขา

Add your content here…

Add your content here…

ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา     

ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย: หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา

 

ชื่อปริญญา ชื่อเต็ม (ไทย):  ครุศาสตรมหาบัณฑิต (พุทธบริหารการศึกษา) 

ชื่อเต็ม (อังกฤษ):  Master of Education (Buddhist Educational Administration)

 สาขาวิชา            พุทธบริหารการศึกษา

 

ภาษาอังกฤษ: Master of Education Program in Buddhist Educational Administration

 


ชื่อย่อ (ไทย):  ค.ม. (พุทธบริหารการศึกษา)

ชื่อย่อ (อังกฤษ):  M.Ed. (Buddhist Educational Administration)

**คุรุสภาให้การรับรองหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ ในการปรุชุมครั้งที่ 3/2566 เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2566 รหัสรับรอง 3904


อาจารย์ประจำหลักสูตร

  • คุณวุฒิ
  • ผลงานวิชาการ
ที่ ชื่อ–ฉายา/สกุล ตำแหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิ/สาขาวิชา ชื่อสถาบันที่สำเร็จการศึกษา ปี พ.ศ.
นายธนู  ศรีทอง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์(การสอนภาษาอังกฤษ) ปร.ด. (การบริหารการศึกษา)
M.A. (English)
พธ.บ. (ภาษาอังกฤษ)
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Kurukshetra University, India
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๕๕๙
๒๕๔๐
๒๕๓๕
นายเกษม  แสงนนท์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์(บริหารการศึกษา) พธ.ด. (พุทธบริหารการศึกษา)
วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ)
พธ.บ. (การบริหารรัฐกิจ)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๕๕๘
๒๕๔๘
๒๕๓๘
นายสิน  งามประโคน
รองศาสตราจารย์(บริหารการศึกษา) Ph.D. (Educational Administration)
M.A. (Educational Administration)
พธ.บ. (บริหารการศึกษา)
Punjab University, IndiaPunjab University, India
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๕๓๗
๒๕๓๑
๒๕๒๗
พระครูวิริยปัญญาภิวัฒน์(ณัฐพนธ์ วิริโย/ชอบมี)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์(สังคมศึกษา) ค.ด. (หลักสูตรและการเรียนการสอน)
กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน)
พธ.บ. (การสอนสังคมศึกษา)
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๕๕๗
๒๕๔๘
๒๕๓๘
พระครูสาธุกิจโกศล(สิทธิชัย ฐานจาโร/เดชกุลรัมย์)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์(สังคมศึกษา) ค.ด. (หลักสูตรและการเรียนการสอน)
กศ.ม. (บริหารการศึกษา)
พธ.บ. (บริหารการศึกษา)
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๕๕๗
๒๕๔๘
๒๕๓๘
นายทวีศักดิ์ ทองทิพย์
รองศาสตราจารย์(พระพุทธศาสนา) พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
ศศ.ม. (ภาษาสันสกฤต)
พธ.บ. (ศาสนา)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศิลปากร 
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๕๕๗
๒๕๔๖
๒๕๓๔
นายภัฏชวัชร์ สุขเสน
 อาจารย์ พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
รป.ม. (นโยบายสาธารณะ)
ศน.บ. (รัฐศาสตร์การปกครอง) 
ป.ธ.๙
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยนเรศวรมหาวิทยาลัย
มหามกุฏราชวิทยาลัยกองบาลีสนามหลวง
๒๕๕๘
๒๕๕๒
๒๕๕๑
๒๕๕๐
นายสมศักดิ์ บุญปู่
รองศาสตราจารย์(บริหารการศึกษา) Ph.D. (Social Science)
M.A. (Political Science)
พธ.บ. (มานุษยสงเคราะห์ศาสตร์)
Magadh University, IndiaUniversity of Mysore, India
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๕๕๐
๒๕๒๘
๒๕๒๕
ที่ ชื่อ/ฉายา/นามสกุล วุฒิการศึกษา/สาขาวิชา(ป.เอก/ป.โท/ป.ตรี) ตำแหน่งทางวิชาการ สาขาตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาที่เปิดสอน ผลงานทางวิชาการ๕ ปีย้อนหลัง
ผศ.ดร.ธนู  ศรีทอง 
-ปร.ด. (การบริหารการศึกษา)-M.A. (English)-พธ.บ. (ภาษาอังกฤษ) ผู้ช่วยศาสตราจารย์(การสอนภาษาอังกฤษ) √สาขาตรง o สาขาสัมพันธ์ งานวิจัยThanoo Srithong, Banchong Sodadee, Boorakorn Boriboon, “Cultural Geography: History, Propagation Routes of Buddhism, and Principles of Buddhadhamma in Ayuttaya           Period”. Proceedings, the 1st National and International Symposium on          Humanities and Social Sciences 2018, Buriram Rajabhat University, Thailand.  P. 1643-1652.Taweesak Tongtip, Chanit Chooluen, Phrabidega Supot Tapasilo, Sahathaya Viset, Thanoo Srithong, “Cultural Geography: History, Propagation Routes of Buddhism, and Principles of Buddhadhamma in Thailand”. Proceedings, the 1st National and International Symposium on Humanities and Social Sciences 2018, Buriram Rajabhat University, Thailand. P. 1635-1642. [Proceeding]Asst.Prof.Banchong Sodadee, Dr.Thanarat Sa-ard-iam, Asst.Prof.Dr.Thanoo Srithong,         “Organization Management to Preserve Dhamma Teaching Model of the Buddhist   Monks in Northeast Thailand Influening Thai Society ”, Proceeding 2nd HUNIC           CONFERENCE 2019: The 2nd National and International Conference on          Humanities and Social Sciences the King’s Philosophy; An Innovaion for      Sustainable Local Development, Surindra Rajabhat University. 22-2- August 2019,     Surindra Rajabhat University, Thailand. P. 1523-1533. [Proceeding]Chotniphitphon Phoncharoen, PhraDhammamolee, Thanoo Srithong, Riangdow Tavachalee, Sanya Kenpahoom, “THE POTENTIALITY DEVELOPMENT OF COMMUNITY AND ENTREPRENEURSHIP ON RELIGIOUS AND CULTURAL TOURISM IN SOUTHERN EASTERN, THAILAND”. European Journal of Molecular & Clinical Medicine ISSN 2515-8260 Volume 7, Issue 8, 2020.  P. 4264-4271. [Scopus]ธนู ศรีทอง, บรรจง โสดาดี, พระครูปัญญาสุธรรมนิเทศก์, สถาพร  ภาคพรม, พระครูวิริยปัญญาภิวัฒน์. “การใช้ประโยชน์จากอัตลักษณ์ฐานทรัพยากรการท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนา จังหวัดสุรินทร์”. วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่. ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๓) หน้า ๓๙๘-๔๐๙.ธนู  ศรีทอง, ทวีศักดิ์ ทองทิพย์, พระมหาโชตนิพิฐพนธ์ สุทฺธจิตฺโต, ปัญวลี เสริมทรัพย์, ชายชาญ วงศ์ภักดี, พระครูสุเมธจันทสิริ.  “การท่องเที่ยวทางศาสนาและวัฒนธรรมของอีสานใต้ : ประวัติศาสตร์เส้นทางและการเสริมสร้างเครือข่ายในประชาคมอาเซียน”.  วารสารปัญญาปณิธาน สำนักวิชาการมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย.ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๓). หน้า ๕๕-๖๘.ชายชาญ  วงศ์ภักดี, บรรจง  โสดาดี, ธนู  ศรีทอง, พระครูโสภณธรรมาภิมณฑ์, ชูชัย  ประดับสุข, สถาพร  ภาคพรม, พิสุทธิ์พงศ์  เอ็นดู.  “การเสริมสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยวทางศาสนาและวัฒนธรรมของอีสานใต้กับประชาคมอาเซียน”. วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่.  ปีที่ ๑๒ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๔) หน้า ๑๗๐-๑๘๕.หนังสือธนู ศรีทอง, ปัญวลี เสริมทรัพย์, ชายชาญ วงศ์ภักดี, ณัชปภา โพธิ์พุ่ม.  (๒๕๖๑).  ไวยากรณ์อังกฤษเข้ม    Condensed English Grammar. สุรินทร์: ศิริรัตน์การพิมพ์.  (๒๓๘ หน้า).
ผศ.ดร.เกษม  แสงนนท์ 
-พธ.ด. (พุทธบริหารการศึกษา)-วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ)-พธ.บ. (การบริหารรัฐกิจ) ผู้ช่วยศาสตราจารย์(บริหารการศึกษา) √ สาขาตรง o สาขาสัมพันธ์ งานวิจัยศิริญาภา ทองมะหา, อินถา ศิริวรรณ, เกษม แสงนนท์, วิชชุดา หุ่นวิไล. “แนวทางการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ตามหลักพหูสูต ๕ ของโรงเรียนในเครือข่ายที่ ๔๙ สำนักงานเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๖๒) : ๒๖-๓๘.สิน งามประโคน, พีรวัฒน์ ชัยสุข, พระครูภัทรธรรมคุณ, พระมหาสมบัติ ธนปญฺโญ และ เกษม แสงนนท์. “การบริหารการศึกษา : แนวคิด ทฤษฎีและรูปแบบการบริหารจัดการ”.วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๒) : ๑๓๔-๑๔๖.วันเพ็ง ระวิพันธ์, สุทธิพงษ์ ศรีวิชัย, เกษม แสงนนท์, อำนาจ บัวศิริ. “แนวทางการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการจัดการเรียนรู้ของครู ตามนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พระนครศรีอยุธยา เขต ๒”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๒) : ๑๑๖-๑๒๙.ดลรวี เติมงาม, สิน งามประโคน, เกษม แสงนนท์. “ศึกษาแนวทางส่งเสริมวินัยนักเรียนโรงเรียนในอำเภอบางใหญ่ สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๖๒) : ๔๘-๕๘.เกษม แสงนนท์ (๒๕๖๒). พระครูโสภณพุทธิศาสตร์, พระปลัดบุญเจิด สุจิตฺโต (สุนทรสุข), พระเทิดศักดิ์          สุตฺตินฺธโร (ศรีวิรัตน์), นพดล ดีไทยสงค์. “โรงเรียนผู้สูงอายุ : การจัดการสุขภาวะและสวัสดิการผู้สูงอายุในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (เมษายน ๒๕๖๒) : ๙๖๐-๙๗๒. [TCI กลุ่ม ๑]Kasem Saegnont, 1st International Conference On Multidisciplinary and Current Educational Research Organizeed By Mahachulalongkornrajavidyalaya University (MCU) In Association With Institute For Engineering Research and Publication (IFERP) 30TH – 31STJULY 2020 AYUTTAYA, THAILAND. [Proceeding]Khamolluck Phothiarunphat, Lampong Klomkul, Kasem Sangnont. An Effectiveness Innovation Model of Buddhist in Teaching and Learning Management of Thai Traditional Medicine in New Normal. Published/ publié in Res Militaris (resmilitaris.net), vol.13, n°2, January Issue 2023.พระมหากัมพล อตฺถปาโล (ชำนาญ), เกษม แสงนนท์, พระครูสังฆรักษ์จักรกฤษณ์ ภูริปญฺโญ, แนวทางการพัฒนาคุณลักษณะพระสอนศีลธรรมที่พึงประสงค์ในสังคมไทย, วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ – 1 – ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม) 2565พระมหาจักรพันธ์ฐานสมฺปนฺโน (แก้วก่ำ), เกษม แสงนนท์, สมศักดิ์ บุญปู่, แนวทางพัฒนาการบริหารงานบุคคลโรงเรียนประถมศึกษาตามหลักพุทธธรรมในเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร, วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ – 22 – ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม) 2565Phramaha Wichit Indadhammo (Phitpeng), Phramaha Sombat Dhanapañño, Kasem Sangnont, Phrakhruwirunsutakhun Uttamasakko, Development of Transformational Leadership based on Buddhadhamma for Teacher-Monks in Phrapariyattidhamma Schools, Dhamma Study Division, in Sangha Regional Administration Area 1, Journal of Positive School Psychology 2022, Vol. 6, No. 3, 2766–2773 http://journalppw.comหนังสือ/ตำราเกษม แสงนนท์.  (๒๕๖๑).  500 Quiz ตัวอย่างคำถามพร้อมเฉลย พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (๑๑๖ หน้า)เกษม แสงนนท์.  (๒๕๖๒). นวัตกรรมและเทคโนโลยีการบริหารโรงเรียนวิถีพุทธ. พระนครศรีอยุธยา : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (๓๘๒ หน้า)เกษม แสงนนท์, อภิชาติ รอดนิยม, นพดล เพ็ญประชุม. (๒๕๖๒). “ดิจิทัลบุ๊ค : คู่มือการศึกษาและการเผยแผ่ธรรมะยุคไทยแลนด์ ๔.๐”. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๓ (MCU Congress 3). หลักสูตรบัณฑิตศึกษา ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. เล่มที่ ๑ กลุ่มนวัตกรรมทางการจัดการเชิงพุทธ. (๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๒) : หน้า ๔๕๑-๔๖๘.เกษม แสงนนท์.  (๒๕๖๓).  นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑. พิมพ์ครั้งที่ ๓. พระนครศรีอยุธยา. (๒๙๒ หน้า)
รศ.ดร.สิน  งามประโคน
-Ph.D. (Educational Administration)-M.A. (Educational Administration)-พธ.บ. (บริหารการศึกษา) รองศาสตราจารย์(บริหารการศึกษา) √ สาขาตรง o สาขาสัมพันธ์ งานวิจัยสิน  งามประโคน. “นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ”. วารสารมหาจุฬาวิชาการ. ปีที่ ๕ ฉบับพิเศษ (พฤษภาคม ๒๕๖๑)  หน้า ๗๔-๘๒.สิน งามประโคน, พีรวัฒน์ ชัยสุข, พระครูภัทรธรรมคุณ ปั้นมยุรา, พระมหาสมบัติ ธนปญฺโญ, เกษม แสงนนท์, อำนวย เดชชัยศรี. “การบริหารการศึกษา : แนวคิด ทฤษฎีและรูปแบบการบริหารจัดการ”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๒) : หน้า ๑๓๔-๑๔๖.ดลรวี เติมงาม, สิน งามประโคน, เกษม แสงนนท์. “ศึกษาแนวทางส่งเสริมวินัยนักเรียนโรงเรียนในอำเภอบางใหญ่ สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี”วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๒)  : หน้า ๔๘-๕๘.วาสนา จินดาสวัสดิ์, สิน งามประโคน และพีรวัฒน์ ชัยสุข, การพัฒนานวัตกรรมระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามหลักพุทธธรรมของโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่, วารสารวิชาการธรรมทรรศน์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2565)Phrakhrupalad Somnuek Samaṇadhammo (U-thaisaengphaisan), Sin Ngamprakhon, PhrakhruOpatnontakitti (Sakda Obhāso), PhraSurachai Surachayo, A Model of Teacher-Characteristics Development based on Sangahavatthu IV Principles for Schools under Office of Secondary Educational Service Area 4, Journal of Positive School Psychology 2022, Vol. 6, No. 3, 2731–2736 http://journalppw.com      (๗) Phrakhrupalad Prasit Thitiko (Soithongkum), Sin Ngamprakhon, Phrakhruwirunsutakhun Uttamasakko, Phra Thammarachanuwat (suthat chaiyapha), A Model of Characteristics Development based on the Five Precepts for Educational Personnel in Schools under Office of Secondary Educational Service Area 2, Journal of Positive School Psychology 2022, Vol. 6, No. 3, 2724–273 http://journalppw.comPhramaha Thirawat Sakkadhammo (Atphakdee), Suddhipong Srivichai, Yudthawee Kaewtongyai, Sin Ngamprakhon, Teaching and Learning Management Process in Educational Reform Period in Charity Schools of Buddhist Temples, Journal of Positive School Psychology  2022, Vol. 6, No. 3, 2758–2765 http://journalppw.comPhrapalad Chan Siricando (Pongtaeng), Sin Ngamprakhon, Phrakrukittiyanavisit, PhrakhruBhattharadhammakun, Development of Personnel Administration Based on Brahmavihāra Principles for Schools under Office of Primary Educational Service Area, Journal of Positive School Psychology 2022, Vol. 6, No. 3, 2774–2780 http://journalppw.comหนังสือ/ตำราสิน  งามประโคน. (๒๕๖๒). หลักการเขียนวิทยานิพนธ์ บัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์ พร้อมตัวอย่างประกอบ. พระนครศรีอยุธยา : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (๔๑๖ หน้า)
พระครูวิริยปัญญาภิวัฒน์,ผศ.ดร.(ณัฐพนธ์ วิริโย/ชอบมี)
-ค.ด. (หลักสูตรและการเรียนการสอน)-กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน)-พธ.บ. (การสอนสังคมศึกษา) ผู้ช่วยศาสตราจารย์(สังคมศึกษา) o สาขาตรง √ สาขาสัมพันธ์ ผลงานวิจัยพระเอกรัตน์ มหามงคลโล, พระครูวิริยปัญญาภิวัฒน์, พระมหาสมบัติ ฐานวโร, พระครูสาธุกิจโกศล. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : แนวทางการดำเนินชีวิตของประชาชนทุกระดับในสังคมไทย, การประชุมวิชาการระดับนานาชาติครั้งที่ ๙ ระดับชาติครั้งที่ ๑ วัฒนธรรมเชิงพุทธกับการพัฒนาที่ยั่งยืน ณ วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษธนู ศรีทอง, บรรจง โสดาดี, พระครูปัญญาสุธรรมนิเทศก์, สถาพร  ภาคพรม, พระครูวิริยปัญญาภิวัฒน์. “การใช้ประโยชน์จากอัตลักษณ์ฐานทรัพยากรการท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนา จังหวัดสุรินทร์”. วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่. 
ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๓). หน้า ๓๙๘-๔๐๙.พระครูวิริยปัญญาภิวัฒน์. การพัฒนาศักยภาพชุมชนและผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวทางศาสนาและวัฒนธรรมในอีสานใต้”. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาจุฬาฯ สุรินทร์ ครั้งที่๑ The 1st MCUSR National Conference มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์. (วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๓). หน้า ๒๖๕-๒๗๐.พระครูวิริยปัญญาภิวัฒน์. (๒๕๖๓). “เส้นทางสู่ความเป็นครูมืออาชีพ”.ในการประชุมวิชาการระดับชาติ โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาจุฬาฯ สุรินทร์ ครั้งที่๑ The 1st MCUSR National Conference มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์. (วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๓) หน้า ๒๐๙-๒๑๗.
พระครูสาธุกิจโกศล,ผศ.ดร.(สิทธิชัย ฐานจาโร/เดชกุลรัมย์)
-ค.ด. (หลักสูตรและการเรียนการสอน)-กศ.ม. (บริหารการศึกษา)-พธ.บ. (บริหารการศึกษา) ผู้ช่วยศาสตราจารย์(สังคมศึกษา) o สาขาตรง √ สาขาสัมพันธ์ ผลงานวิจัยพระเอกรัตน์ มหามงคลโล, พระครูวิริยปัญญาภิวัฒน์, พระมหาสมบัติ ฐานวโร, พระครูสาธุกิจโกศล. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : แนวทางการดำเนินชีวิตของประชาชนทุกระดับในสังคมไทย, การประชุมวิชาการระดับนานาชาติครั้งที่ ๙ ระดับชาติครั้งที่ ๑ วัฒนธรรมเชิงพุทธกับการพัฒนาที่ยั่งยืน ณ วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษไชยรัตน์ ปัญญาเอก, พระครูสาธุกิจโกศล (เดชกุลรัมย์), และเอกรัตน์ มาพะดุง. การพัฒนาฐานข้อมูลปราชญ์ท้องถิ่นในจังหวัดสุรินทร์. วารสารมหาจุฬาตานีปริทรรศน์ ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 มกราคม-มิถุนายนณัชปภา โพธิ์พุ่ม, พระครูสาธุกิจโกศล, พระวิชาร อาทโร, และ ประดิษฐ์ ชื่นบาน. รูปแบบการพัฒนาตนในวิิกฤตสถานการณ์โควิด-19 ตามหลักพุทธธรรมของประชาชนในจังหวัดสุรินทร์. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2565.พระครูสาธุกิจโกศล. (๒๕๖๑). “การสอนสังคมศึกษาเพื่อพัฒนาค่านิยมของคนไทยยุค 4.0”. ประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๔ ศาสตร์พระราชากับการสร้างสังคมอุดมปัญญาในยุคไทยแลนด์ ๔.๐. ณ วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑) หน้า ๙๕-๙๘.พระครูสาธุกิจโกศล. (๒๕๖๑). “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : แนวทางการดำเนินชีวิตของประชาชนทุกระดับในสังคมไทย”. การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๙ ระดับชาติครั้งที่ ๑ วัฒนธรรมเชิงพุทธกับการพัฒนาที่ยั่งยืน. วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (๒-๓ เมษายน ๒๕๖๑) หน้า ๗๖.พระครูสาธุกิจโกศล. (๒๕๖๓).“การพัฒนาฐานข้อมูลปราชญ์ท้องถิ่นในจังหวัดสุรินทร์”.ในการประชุมวิชาการระดับชาติ โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาจุฬาฯ สุรินทร์ ครั้งที่๑ The 1st MCUSR National Conference มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์.(วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๓) หน้า ๕๖๑-๕๗๒.พระครูสาธุกิจโกศล. (๒๕๖๓). “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการศึกษาของสังคมไทย”.ในการประชุมวิชาการระดับชาติ โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาจุฬาฯ สุรินทร์ ครั้งที่๑ The 1st MCUSR National Conference มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์.(วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๓) หน้า ๔๒๑-๔๒๘.
รศ.ดร.ทวีศักดิ์ ทองทิพย์
-พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)-ศศ.ม. (ภาษาสันสกฤต)-พธ.บ. (ศาสนา) รองศาสตราจารย์(พระพุทธศาสนา) o สาขาตรง √ สาขาสัมพันธ์ งานวิจัยทวีศักดิ์ ทองทิพย์. แนวคิดการบริหารการศึกษาตามหลักไตรสิกขากับแนวคิดตามทฤษฎีเชิงระบบเป็นความสอดคล้องกันที่ลงตัว. วารสารมหาจุฬาคชสาร ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2561)ทวีศักดิ์ทองทิพย์, เศรษฐพร หนุนชู, ปัญวลี เสริมทรัพย์,พระมหาโชตนิพิฐพนธ์ สุทฺธจิตฺโต (ผลเจริญ), ธนู ศรีทอง. ศาสนาและวัฒนธรรม: การใช้ประโยชน์จากอัตลักษณ์ของฐานทรัพยากรการท่องเที่ยวจังหวัดสุรินทร์. วารสารวิชาการ มจร บุรีรัมย์  ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (2564) : มกราคม – มิถุนายนทวีศักดิ์ ทองทิพย์. (๒๕๖๑). “ศึกษาผลสำเร็จการพัฒนาจริยธรรมตามหลักบุญกริยาวัตถุ ๓ ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนกระสังพิทยาคม จังหวัดบุรีรัมย์.” การประชุมระดับชาติ ครั้งที่ ๒  การวิจัยทางพระพุทธศาสนาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์            มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เมื่อ (วันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๑) หน้า ๓๔๔-๓๖๔.ทวีศักดิ์ ทองทิพย์. “ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม: ประวัติศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และหลักพุทธธรรมในประเทศไทย, Culture Geography: History, Propagation Routes of Buddhism, and Principle of Buddhadhamma in Thailand.”. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๒). หน้า ๙๑-๑๐๐.ทวีศักดิ์ ทองทิพย์. (๒๕๖๒). “การศึกษาประวัติศาสตร์และเส้นทางการท่องเที่ยวทางศาสนาและวัฒนธรรมในอีสานใต้.”บทความวิจัย. ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ   ราชมงคลสุรินทร์วิชาการ ครั้งที่ ๑๐ (Conference Proceedings) หัวข้อการประชุม “วิจัยและ     นวัตกรรม นำสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์, (วันที่ ๑๙-๒๐ กันยายน ๒๕๖๒) หน้า ๗๒ -๘๐.ทวีศักดิ์ ทองทิพย์. “การท่องเที่ยวทางศาสนาและวัฒนธรรมของอีสานใต้: ประวัติศาสตร์เส้นทางและการเสริมสร้างเครือข่ายในประชาคมอาเซียน”. วารสารปัญญาปณิธาน. ปีที่ ๕ ฉบับที่๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๓) : ๕๗-๖๘.ทวีศักดิ์ ทองทิพย์. (๒๕๖๓). “การประยุกต์หลักธรรมของพระโพธิสัตว์ในชาติที่เกิดเป็นพ่อค้า เพื่อนำไปใช้ในการค้าขาย”. ในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ คณะพุทธศาสตร์ ครั้งที่ ๓ (The 3rd National Academic Conference, Faculty of Buddhism) ในหัวข้อ “พระพุทธศาสนากับแนวทางการแก้ปัญหาในสถานการณ์ปัจจุบัน” (Buddhism andSolutions to problems in the current situation). คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.(วันที่ ๒๖ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๔) หน้า ๒๖๗-๒๗๔.บทความทางวิชาการทวีศักดิ์ ทองทิพย์. (๒๕๖๑). “The Influence of Dhamma Propagation by Live Broadcast Via Facebook.”  บทความวิชาการ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceedings) การประชุมวิชาการระดับนานาชาติครั้งที่ ๓  The 3rd MCU International Academic Conference. Theme: Buddhism in the Digital Era, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.(เมื่อวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๖๑) pp.1-16.หนังสือ/ตำราทวีศักดิ์ ทองทิพย์.  (๒๕๖๑).  พุทธปรัชญาบริหารการศึกษา.  กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (๖๘ หน้า).
ดร.ภัฏชวัชร์ สุขเสน
-พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)-รป.ม. (นโยบายสาธารณะ)-ศน.บ. (รัฐศาสตร์การปกครอง) -ป.ธ.๙ อาจารย์ o สาขาตรง √ สาขาสัมพันธ์ ผลงานวิจัยภัฏชวัชร์ สุขเสน. อธิษฐานธรรม : หลักความมั่นคงของมนุษย์. ว า ร           ส า  ร ว นั ม ฎ อ ง แ ห ร ก พุ ท ธ ศ า ส ต ร ป ริ ท ร ร ศ น์          ปี ที่ 5 ฉ บั บ ที่ 1 ( 2 5 6 1 ) : ม ก ร า ค ม – มิ ถุ น า ย นพระมหาศิริพงศ์ จนฺทปาโมชฺโช, พระปลัดกิตติ ยุตฺติธโร, ภัฏชวัชร์ สุขเสน.          การประยุกต์ใช้หลักไตรสิกขาเพื่อส่งเสริมการเรียนของนักเรียน          ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนลำปลายมาศ ตำบลลำปลาย          มาศ อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์. ว า ร ส า ร ว นั ม          ฎ อ ง แ ห ร ก พุ ท ธ ศ า ส ต ร ป ริ ท ร ร ศ น์ ปี ที่ 7 ฉ บั บ         ที่ 1 ( 2 5 6 3 ) : ม ก ร า ค ม – มิ ถุ น า ย นวิรัตน์ ภูทองเงิน, ภัฏชวัชร์ สุขเสน, พลนภัส แสงสี, สถาพร ภาคพรม, พระมหาวิชาญ สุวิชาโน.  “ปัจจัยทางจิตสังคมและความสุขใจที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพของนักเรียนระดับมัธยมผศึกษาจังหวัดบุรีรัมย์”. วารสารวนัมฎองแหรกพุทธศาสตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์.  ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๔) หน้า ๖๕-๗๓.ภัฏชวัชร์ สุขเสน, ธนันต์ชัย พัฒนะสิงห์, อิสรพงษ์ ไกรสินธ์, รุ่งสุริยา หอมวัน, พระมหาอภิสิทธิ์ วิริโย. “การสร้างชุมชนสันติสุขในอีสานใต้ท่ามกลางพหุวัฒนธรรมแบบมีส่วนร่วม”. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์.  ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๔) หน้า ๓๓๙-๓๕๐.รุ่งสุริยา หอมวัน, ภัฏชวัชร์ สุขเสน, ธนันต์ชัย พัฒนะสิงห์, อิสรพงษ์ ไกรสินธ์, พระมหาอภิสิทธิ์ วิริโย. “ปัจจัยในการสร้างชุมชนสันติสุขท่ามกลางพหุวัฒนธรรมในอีสานใต้”.  วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๔) หน้า ๓๕๑-๓๖๔.อิสรพงษ์ ไกรสินธ์, ภัฏชวัชร์ สุขเสน, ธนันต์ชัย พัฒนะสิงห์, อิสรพงษ์ ไกรสินธ์, พระมหาอภิสิทธิ์ วิริโย. “การสร้างเครือข่ายชุมชนสันติสุขในอีสานใต้”. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๔)  หน้า ๓๒๗-๓๓๘.
รศ.ดร.สมศักดิ์ บุญปู่
-Ph.D. (Social Science)-M.A. (Political Science)-พธ.บ. (มานุษยสงเคราะห์ศาสตร์) รองศาสตราจารย์(บริหารการศึกษา) √ สาขาตรง o สาขาสัมพันธ์ งานวิจัยบุญมา แพ่งศรีสาร และ สมศักดิ์ บุญปู. ภวะผู้นำของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ) ในการบริหารกิจการคณะสงฆ์. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ 7 ฉบับที่ 5  (กันยายน-ตุลาคม          2562)ธีร์ ภวังคนันท์, สิน งามประโคน และสมศักดิ์ บุญปู่. รูปแบบการบริหารการศึกษาตามหลักพุทธบูรณาการในสถานการณ์ การระบาดของโรคโควิด-19 ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2565)พระมีศักดิ์ คุตฺตวํโส (สุขประเสริฐ), บุญเชิด ชำนิศาสตร์, สมศักดิ์ บุญปู่.           รูปแบบการพัฒนาการบริหารสิ่งแวดล้อมตามหลักสัปปายธรรม           ที่ยั่งยืนสำหรับโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร.พระครูสารกิจไพศาล, สมศักดิ์ บุญปู่, พระมหาญาณวัฒน์ ฐิตวฑฺฒโน. “รูปแบบการพัฒนาทักษะของครูในโรงเรียนการ ศึกษาสงเคราะห์ของวัดในเขตการปกครองคณะสงฆ์ ภาค ๑”. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๕ (กันยายน-ตุลาคม ๒๕๖๒) หน้า ๑๒๙๖-๑๓๐๕.พระปลัดบุญเจิด สุจิตฺโต, สมศักดิ์ บุญปู่, พระครูกิตติญาณวิสิฐ. “รูปแบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพของ โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา”. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๔ (กรกฎาคม-สิงหาคม ๒๕๖๒) หน้า ๑๐๔๘-๑๐๕๗.Boonpoo Somsak. “Humer in Buddhism” 5th international conference on isiam & Buddhism muslim & Buddhism sacred arts and architecture.islambad, Pakistan, (december, 2019) : PP.78-86.Boonpoo Somsak. “Performance Management Structural Equation Modelling of the Phrapariyattidhamma Schools in Thailand”. Presented at University of Oxford, St. Anne’s College, Oxford, United Kingdom (March 2019) : PP.23-35.Boonpoo Somsak. “Structural Equation Modeiing of Effective Management of the Phrapariyattidhamma Schools’ in Thailand”. World Business and Social Science Research Conference, Ambassador hotel Bangkok,Thailand. (December 2019) : PP.78-88.

Add your content here…